วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดการ60ห้องB



สมาชิกในชั้นเรียน


       อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค                  อาจารย์ปาล์ม


1. นายเกียรติศักดิ์ เกตุอักษร                  ไฟท์


2. นายจรณะ แท่งทอง                            เปา


3. นางสาวเฉลิมพร ศรีมณี                      เจล


4. นายชาติศิริ รัตนชู                               ติ๊บ


5. นายชินวัฒร์ เพ็ชรโสม                        แมน


6. นายณฐกร ชัยปาน                              โจ


7. นายณัฐกร สงสม                                จ๊อบ


8. นายณัฐพล วงศ์สุขมนตรี                    เกมส์


9. นางสาวทัศนีย์วรรณ กาญจโนภาส      ษา


10. นายธัณวัตร์ แก้วบุษบา                      ธัน


11. นายนราธร จันทรจิตร                         เนม


12. นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงค์                แอม


13. นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ        อ้าย


14. นางสาวปัถยา บุญชูดำ                       ปัด


15. นายพศวัต บุญแท่น                            อ๊อฟ


16. นางสาวแพรพลอย พรหมประวัติ         แพร


17. นายไฟซ้อล ประชานิยม                      ซอล


18. นายภูมิภัทร์ สรรนุ่ม                              อ้วน


19. นายยศกร บัวดำ                                   ทาย


20. นางสาวรัฐชา วงศ์สุวรรณ                     เบญ


21. นายเรืองศักดิ์ ใหม่แก้ว                         เอ็ม


22. นางสาววลีพร ลิขิตธีระกุล                    นุ๊ก


23. นายวาทิศ อินทร์ปราบ                          เบนซ์


24. นางสาววิภารัตน์ ดำสุข                         ออม


25. นางสาวศศิธร ชูปาน                              จูน


26. นายศุภกิจ ติเสส                                     ดุก


27. นายเศรษฐชัย ฐินะกุล                            ตาล


28. นายสราวุธ จันทร์แก้ว                             ฟีมล์


29. นายสุชาครีย์ งามศรีตระกูล                     เบนซ์


30. นายสุริยา หวันสะเม๊าะ                             ดิ่ง


31. นายอนันต์ อาแว                                      นัง


32. นายอนุวัช นุ่นเอียด                                  กอล์ฟ


33. นายอภิชัย เสวาริท                                   บอล


34. นางสาวอรอุมา หมากปาน                        ญ่า

วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบ AS/RS

ระบบ AS/RS


ความหมายของระบบ AS/RS
ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ (Automated Storage/Retrieval System เรียกโดยย่อว่า AS/RS)  คือ  การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ
ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
- Unit Load AS/RS
- Miniload AS/RS
- Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
- Automated Item Retrieval System
- Deep-Lane AS/RS
         องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS
1.      โครงสร้างที่เก็บวัสดุ (Storage Structure)
2.      เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine)
3.      หน่วยของการเก็บวัสดุ (Storage Module)
4.      สถานีหยิบและฝากวัสดุ (Pickup and Deposit Station)
อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS
1.      รถเคลื่อนย้ายช่องทางขนส่งวัสดุ (Aisle Transfer Car)
2.      อุปกรณ์ตรวจสอบถังบรรจุวัสดุว่างเปล่า/เต็ม
3.      สถานีวัดขนาดโหลด (Sizing Station)
4.      สถานีบ่งชี้โหลด (Load Identification Station)
การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.      จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load
2.      หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3.      ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1.      ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2.      สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3.      ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4.      สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5.      ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6.      สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน
ระบบการจัดเก็บสินค้าและเรียกคืนสินค้าอัตโนมัติ Automated Storage/Retrieval System (AS/RS)
   คือ ระบบบริหาร การจัดเก็บสินค้า เก็บวัตถุอัตโนมัติ เหมาะกับบริษัทที่ต้องการลดการใช้งานพื้นที่ หรือต้องการ
เพิ่ม ปริมาณในการจัดเก็บมากขึ้น เช่น คลังสินค้า, โกดัง สินค้า, อาคารจอดรถอัตโนมัต, ห้องเก็บสมุดอัตโนมัติเป็นต้น
   ระบบ ASRS จะมีการทำงานควบคู่อัตโนมัติอย่างเป็นระบบอยู่ 2 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ใช้เทคโนโลยีโรบอทอัตโนมัติกับ
ซอร์ฟแวร์ที่ สามารถพัฒนา นำไปใช้ได้กับทุกพื้นที่
ประโยชน์ของ AS/RS
   ลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า, ลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้า, เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้า, เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการเบิกจ่ายสินค้า, ทำงานรวดเร็ว แม่นยำ, บริหารทรัพยากรบุคคล, ประหยัดพลังงานไฟฟ้า




วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

 
หุ่นยนต์ในการเก็บกู้วัตถุระเบิด


หุ่นยนต์ที่เลียนแบบมนุษย์

 

วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

เครื่องจักร NC

เครื่องจักร NC
    เครื่องจักร NC คือ ( Numerical Control) จะถูกควบคุมการทํางานดวยรหัส ที่ประกอบดวยตัวเลข ตัวอักษร และสัญลักษณอื่น ๆ ซึ่งรหัสเหลาน ี้ จะถูกแปลงใหเปนสัญญาณทางไฟฟา จากน ั้นจึงสงไป กระตุนใหอุปกรณทางไฟฟา เชนมอเตอรหรืออุปกรณอื่น ๆ ทํางาน ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ เครื่อง NC รุนแรก ๆ จะปอนรหัสผานทาง Punched Card ตอมามีการพัฒนามาเปนการปอนดวย เทปกระดาษเจาะรู ตอมาถึงยุคท ี่ คอมพิวเตอรเฟองฟูจึงนําคอมพิวเตอรมาเปนตัวปอนรหัสแทน เทป กระดาษ จึงเปนที่มาของเครื่อง CNC (Computerized Numerical Control)
ลักษณะงานที่เหมาะกับเครื่องจักรกลNC
ชิ้นงานต้องการความเที่ยงตรงสูง
มีความซับซ้อน
มีการดำเนินงานหลายอย่างบนชิ้นงาน
การเปลี่ยนแปลงแบบมีบ่อยครั้ง
ข้อดีของเครื่องจักร NC
- มีความแม่นยำสูง
- ลดเวลาที่ต้องสูญเสียโดยไร้ประโยชน์
- ลดเวลานำ
- เพิ่มความยืดหยุ่นในการผลิต เปลี่ยนลักษณะการทำงานได้ง่าย
- เชื่อมโยงกับ CAD ได้
ข้อเสียของเครื่องจักร NC
1. ราคาของเครื่องจักรค่อนข้างสูง
2. การบำรุงรักษามีความซับซ้อนมาก
3. จำเป็นต้องใช้ช่างเขียนโปรแกรม (Part Porgrammer) ที่มีทักษะสูงและฝึกอบรม



เครื่องจักร CNC
      CNC เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง
 ลักษณะการทำงาน 
       เครื่องจักรกลซีเอ็นซีเครื่องจักรกลซีเอ็นซี (CNC) จะทำงานได้นั้น ระบบควบคุมของเครื่องจะต้องได้รับคำสั่งเป็นภาษาที่ระบบควบคุมเข้าใจได้เสียก่อนว่าจะให้เครื่องจักรกลซีเอ็นซีทำอะไร ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องป้อนโปรแกรมเข้าไปในระบบควบคุมของเครื่องผ่านแป้นพิมพ์ (Key Board ) หรือเทปแม่เหล็ก ( Magnetic Tape ) เมื่อระบบควบคุมอ่านโปรแกรมที่ป้อนเข้าไปแล้ว ก็จะนำไปควบคุมให้เครื่องจักรกลทำงานโดยอาศัยมอเตอร์ป้อน ( Feed Moter ) เพื่อให้แท่นเลื่อนเคลื่อนที่ได้ตามที่เราต้องการ เช่น เครื่องกลึงซีเอ็นซี ( CNC Machine ) ก็จะมีมอเตอร์ในการเคลื่อนที่อยู่ 2 ตัว หรือเครื่องกัดซีเอ็นซีก็จะมีมอเตอร์ป้อน 3 ตัว จากนั้นระบบควบคุมอ่านโปรแกรมเสร็จแล้ว ก็จะเปลี่ยนรหัสโปรแกรมนั้นให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเพื่อไปควบคุมให้มอเตอร์ทำงาน แต่เนื่องจากสัญญาณที่ออกจากระบบควบคุมนี้มีกำลังน้อย ไม่สามารถไปหมุนขับให้มอเตอร์ทำงานได้ ดังนั้น จึงต้องส่งสัญญาณนี้เข้าไปในภาคขยายสัญญาณของระบบขับ ( Drive amplified ) และส่งสัญญาณต่อไปยังมอเตอร์ป้อนแนวแกนที่ต้องการเคลื่อนที่ ตามที่โปรแกรมกำหนด
          ข้อดี
            1.   มีความเที่ยงตรงสูงในการปฏิบัติงานเพราะชิ้นงานต่างๆ ต้องการขนาดที่แน่นอน
            2.   ทุกชิ้นงานมีคุณภาพสม่ำเสมอเท่ากันหมด เนื่องจากผลิตโดยใช้โปรแกรมในการสั่งเครื่องจักรกล CNC ทำงาน
            3.   โอกาสเกิดความเสียหาย หรือต้องแก้ไขชิ้นงานน้อยหรือแทบไม่มี เพราะชิ้นงานที่ทำจะใช้โปรแกรมในการควบคุม ถ้าผิดพลาดก็แก้ไขที่โปรแกรม
 -               ข้อเสีย
            1.      มีราคาแพงมากเพราะต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เนื่องจากยังไม่มีการผลิตเครื่องจักรกลCNCภายในประเทศ
            2.       ค่าซ่อมแซมสูง เนื่องจากการซ่อมแซมมีความซับซ้อน เพราะทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ รวมถึงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ต้องใช้ผู้ชำนาญการ

       
   
  เครื่องจักร DND
          เป็นเครื่องจักรกลอัติโนมัติที่ทำงานโดยการโปรแกรมเข้าไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะให้มันทำงานตามแบบที่เราโปรแกรมเข้าไป มีหลายภาษาที่ใช้กับเครื่อง โดยมากจะเป็นงานโลหะที่มีความซับซ้อนและต้องการความแม่นยำสูง โดยที่การหล่อไม่สามารถทำได้หรือสามารถทำได้ก็ตาม
          เครื่องจักรกลพื้นฐานเช่น เครื่องกลึง เครื่องกัด เครื่องเจียรนัย และเครื่องตัดโลหะแผ่นเป็นเครื่องจักรกลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักร เครื่องยนต์ และแม่พิมพ์ ตลอดจนหน่วยงานสร้าง – ซ่อมงานโลหะโดยทั่วไป และอาจกล่าวได้ว่าความก้าวหน้าของเครื่องจักรกลประสิทธิภาพสูงหลายประเภทในยุคปัจจุบันล้วนแต่มีรากฐานมาจากเครื่องจักรพื้นฐานเหล่านี้ทั้งสิ้น รูปที่ 1 แสดงการทำงานของเครื่องกลึงที่ใช้แรงงานคนในการหมุนเกลียวขับเพื่อป้อนมีดกลึงเข้าหาชิ้นงาน ผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องกลึงหรือเครื่องจักรกลพื้นฐานอื่นๆ จะต้องมีทักษะและความชำนาญในการหมุนเกลียวขับที่ใช้ในการป้อนอุปกรณ์ตัดเข้าหาชิ้นงานเป็นอย่างดี แต่ถึงกระนั้นพบได้บ่อยว่าผู้ปฏิบัติงานต้องใช้เวลามากในการผลิตชิ้นงานที่มีความละเอียดสูง เนื่องจากข้อจำกัดด้านการมองเห็นของผู้ปฏิบัติงาน และความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการวัดที่ต้องทำบ่อยครั้ง ในบางครั้งยังพบว่าชิ้นงานที่ได้มีความคลาดเคลื่อนทางขนาดเกินกว่าที่จะยอมรับได้

   คุณลักษณะ
          1. การเรียกโปรแกรม NC Data ที่ต้องการ โดยรับส่งโดยตรงระหว่างเครื่องจักรกลระบบ CNC กับคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ (SUB Program Calling) โดยการเรียกโดยตรงที่หน้าเครื่องจักรกลระบบ CNC

               2. การให้บริการกระจายข้อมูลโปรแกรม NC Data ในแบบเครื่องข่ายโดยมี Server เป็นศูนย์กลางการติดต่อรับส่งข้อมูลโปรแกรม NC Data กับเครื่องจักรกลระบบ CNC ทุกเครื่องในเครือข่าย โดยมีสถานี Client Station ซึ่งเป็นสถานี Generate (สร้าง) หรือ INPUT หรือ EDIT ข้อมูลโปรแกรม NC Data เพื่อส่งเข้าสู่ Server กลางได้ (Client – Server Configuration System)

          3. การเริ่มกัดงานใหม่ต่อจากการกัดที่หยุดค้างไว้เดิม (Start Cutting from any program line) กรณีที่มีการหยุดกัดงานกลางคัน เช่น Tool สึกหรือ Tool แตก จำเป็นต้องหยุดค้างโปรแกรมไว้เพื่อเปลี่ยน Tool ใหม่ จากนั้น Software SUPER-DNC สามารถส่งต่อข้อมูลโปรแกรม NC Data ในบรรทัดต่อไปได้ โดยไม่ต้องเริ่มงานใหม่ทั้งหมด

    

วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีการสื่อสาร 0

เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารอินฟาเรด(Infrared IR)


อินฟาเรด
     ลำแสงอินฟาเรดหรือ รังสีใต้แสงสีแดงหรือรังสีความร้อนมีลักษณะเป็นคลื่นวิทยุความถี่สูงที่มีความยาวคลื่นต่ำกว่าความยาวคลื่นแสงสีแดงทำให้สายตามนุษย์ไม่สามารถมองเห็น มีการเดินทางของแสงเป็นแนวตรง ระดับสายตา ไม่สามารถทะลุผ่านวัตถุ ได้ถูกนำมาใช้ในการสื่อสารนานแล้วหลายทศวรรษ
ลักษณะของอินฟาเรด
     คลื่นสัญญาณอินฟาเรด(Infrared IR) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ระหว่าง 300 GHz ถึง 400 THz(TeraHertz) มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 1 มิลลิเมตร ถึง 770 นาโนเมตรเป็นความถี่ใต้แสงสีแดงที่ตามนุษย์ไม่สามารถมองเห็น เนื่องจากเป็นคลื่นสั้นจึงส่งสัญญาณได้เป็นแนวตรงระยะทางไม่มาก 30 ถึง 80 ฟุต ไม่สามารถเดินทางทะลุวัตถุได้

     พอร์ตสำหรับการเชื่อมต่ออินฟาเรดจะเรียกว่า พอร์ตอินฟาเรด ดาต้าแอสโซซิเอชั่น หรือไออาร์ดีเอ (Infrared Data Association IrDA) ตัวอย่างการใช้งานได้แก่ คีย์บอร์ดแบบไร้สายติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยมีระยะทางการติดต่อได้ไม่เกิน 8 เมตร อัตราการส่งข้อมูล 75 กิโลบิตต่อวินาที(Kbps)
ตัวอย่างของการใช้อุปกรณ์อินฟาเรด
ข้อดีของการใช้งานคลื่นอินฟาเรด
     สามารถใช้กับอุปกรณไร้สายระยะใกล้ๆได้ อุปกรณ์มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานน้อย ราคาถูก เชื่อมต่ออุปกรณ์ได้ง่าย สัญญาณมีความปลอดภัยสูงไม่ต้องขออนุญาตการใช้งานคลื่น ไม่มีสัญญาณแทรก
ข้อเสียของการใช้งานคลื่นอินฟาเรด
     ใช้ในระยะทางไกลๆ ไม่ได้ ใช้ภายนอกอาคารที่มีแสงแดดไม่ได้ เนื่องจากแสงแดดเป็นคลื่นอินฟาเรดเหมือนกันทำให้รบกวนกัน ถ้ามีการบังทางเดินของแสงจะทำให้สัญญาณขาดหาย
ผลกระทบ
     รังสีอินฟราเรด เป็นรังสีความร้อนเมื่อโลกได้รับความร้อนมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะโลกร้อนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

วิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 ระบบประมวลผล
บทที่ 5 เครื่องจักรกลNC
บทที่ 6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
บทที่ 7 ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 9 PLC / PC
บทที่ 10 คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว


ชื่อ-สกุล  นางสาว แพรพลอย  พรหมประวัติ

ชื่อเล่น  แพร

รหัสนักศึกษา  606705065

เบอร์โทร  0822680448

วัน เดือน ปีเกิด  25 กรกฏาคม 2539

ที่อยู่  18  ม.9  ต.ชุมพล  อ.ศรีนครินทร์  จ.พัทลุง  93000

จบจาก  วิทยาลัยเทคโนโลยีสงขลา

สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

สัตว์ที่ชอบ  สุนัข

สัตว์ที่ไม่ชอบ  งู

Facebook  แพร'รี่  พายย

Line  Pare_ry39

IG  Seeprae_z

คติประจำใจ  ทำวันนี้ให้ดีที่สุด


สมาชิกการจัดการ60ห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน        อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค                   อาจารย์ปาล์ม 1. นายเกียรติศักดิ์ เกตุอักษร                   ไฟท...